วันจันทร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2556

สื่ออังกฤษ ลงข่าวความล้มเหลวโครงการรับจำนำข้าว







สื่ออังกฤษ The Economist ลงข่าวโครงการรับจำนำข้าวที่คิดโดยทักษิณ เป็นประชานิยมที่ใช้ซื้อใจชาวนาที่มีจำนวนมากถึง 2 ใน 3 ของจำนวนเกษตรกรทั้งประเทศ เพื่อมาลงคะแนนเสียงให้พรรคเพื่อไทย นโยบายได้สร้างความเสียหายต่อสถานะการเงินของรัฐบาลและเศรษฐกิจโดยรวม

โดยช่วงหาเสียงนางสาวยิ่งลักษณ์ได้สัญญากับชาวนาว่าจะรับซื้อข้าวเปลือกในราคา 2 เท่าของราคาตลาด หรือ 15,000 บาทต่อตัน ($ 500)

เมื่อนโยบายนี้ได้ใช้ขึ้น กลับถูกประเทศคู่แข่งอย่างเวียดนามและอินเดียตัดราคาข้าวไทย จนทั้งสองประเทศกลายเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ที่สุดแทนที่ไทยไปแล้ว

ส่วนประเทศไทยขายข้าวไม่ออก จนมีข้าวเหลือค้างโกดังมากถึง 18 ล้านตัน ซึ่งเทียบเท่ากับปริมาณครึ่งหนึ่งของการค้าข้าวประจำปีในโลก โดยต้นทุนในปีแรกของโครงการรับจำนำข้าว 54/55 ที่รัฐบาลไทยใช้จ่ายไปคือ 12,500,000,000 $ หรือ สามแสนเจ็ดหมื่นห้าพันล้านบาท

ส่วนค่าใช้จ่ายในปีนี้ 56/57 คาดว่าน่าจะใช้งบประมาณมากถึง 15,000,000,000 $ หรือ สี่แสนห้าหมื่นล้านบาท หรือคิดเป็น 4% ของจีดีพี ทั้งนี้ยังมีค่าบริหารจัดการ ค่าขนส่ง ค่าเช่าโกดังสินค้าในราคาแพงอีกด้วย

นอกจากนี้ยังมีกังวลเกี่ยวกับ ข้าวที่เก็บไว้นานก็มีความเสี่ยงที่จะคุณภาพข้าวจะเสื่อมลง และยังมีข้อสงสัยถึงปริมาณสารปนเปื้อนในข้าวจนข้าวต่ำกว่ามาตรฐาน รวมถึงการทุจริตของผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการนี้ด้วยการนำข้าวจากเขมรและพม่ามาสวมสิทธิในโครงการ

ด้วยเหตุนี้จึงทำให้การประมูลข้าวของรัฐบาลจึงเป็นที่น่าผิดหวัง เพราะไม่ค่อยมีผู้ค้าข้าวมาสนใจประมูลเท่าไหร่นัก

จึงถือว่าเป็นความล้มเหลวของโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ซึ่งรัฐบาลก็พยายามจะลดราคาจำนำข้าวลงจาก 15,000 บาทต่อตัน ลงเหลือ 13,500 บาทต่อตัน ซึ่งสร้างความไม่พอใจแก่ชาวนาเป็นอย่างมาก แม้รัฐบาลไทยจะพยายามขายข้าวในสต๊อกแบบจีทูจี แต่ก็ขายได้เพียงเล็กน้อยเช่น รัฐบาลอิหร่านซื้อไป 25,000 ตันเท่านั้น

ในขณะที่สื่อต่าง ๆ ได้ลงข่าวถึงความล้มเหลวไร้ฝีมือของรัฐบาลและปัญหาคอรัปชั่นที่เกิดจากโครงการรับจำนำข้าวนี้ ส่วนนักลงทุนต่างวิตกเกี่ยวกับหนี้สาธารณะจะเพิ่มขึ้น อีกทั้งมู้ดดี้ก็ได้เตื่อนให้รัฐบาลไทยมีวินัยการคลังมากขึ้นเกี่ยวกับโครงการนี้เช่นกัน

akecity


The rice mountain

IT HAS not been a happy second anniversary for the government of Yingluck Shinawatra. Thousands of diehard opponents of her elder brother Thaksin Shinawatra, himself a former prime minister, took to the streets of Bangkok on August 7th to protest against a bill that could grant Mr Thaksin an amnesty for past offences and open up the possibility of his return from exile. Probably Ms Yingluck is used by now to these kinds of protests, along with the usual rumours of coups. More worrying, perhaps, is widespread and growing dismay over her government’s economic performance, supposedly its strong suit.

This week an opinion poll carried out by Bangkok University found that the government’s approval rating has fallen to its lowest level yet. Most damaging to its reputation is its flagship scheme to subsidise rice. This was the brainchild of Mr Thaksin, who dictates most of his sister’s policies from afar. It was a useful vote-winner during the election campaign in 2011. But its costs now jeopardise both the government’s finances and the economy as a whole

The rice subsidy was classic Thaksin populism. Two-fifths of Thais work in agriculture, most of them as rice farmers. Ms Yingluck promised that, if she were elected, her government would buy unmilled rice directly from farmers at about twice the market rate, or 15,000 baht (about $500) per tonne. This would put money into poor farmers’ pockets and stimulate domestic demand. Naysayers warned that the scheme would be impossibly expensive. But Thaksin advisers said that withdrawing rice from world markets in this way would force up the price. Since Thailand was the world’s biggest exporter, the government would be able to cash in later by selling its stockpiles of grain at a profit.

So much for the weird theory. In practice, other countries have undercut Thailand, whose exports have tumbled (by about 4m tonnes, or a third, in the first full year of the subsidy scheme). India and Vietnam have overtaken Thailand as the biggest exporters. Unable to find buyers, the Thai government has been forced to stockpile 18m tonnes of the stuff and counting—equivalent to nearly half the annual global trade in rice. Buying rice from farmers is ruinously expensive, costing the Thai government $12.5 billion in the first year of operation. This year the cost is expected to rise to about $15 billion, or 4% of GDP. Storing the rice also carries administrative and logistical costs, and demands expensive new warehouses.

Concern is also rising over the quality of the rice piling up in the warehouses. Rice always deteriorates, but the suspicion is growing that stocks are being contaminated with substandard rice. Criminal gangs and bent officials are said to have smuggled in thousands of tonnes of cheap grain from Cambodia and Myanmar in the hope of profiting from government largesse. This rice has got mixed in with Thai grain. A good deal of Thailand’s rice is top-grade Hom Mali, or jasmine rice. So quality, and reputation, matter.

Poor quality may be one reason why the latest auction of rice stocks was so disappointing. The government managed to sell just 210,000 tonnes, well short of a hoped-for 1m tonnes. But this was also a matter of plain economics, says Vichai Sriprasert, head of Riceland International, a family-run exporter. Why buy now when the government will be forced to sell overflowing stocks later, at almost any price?

Millstone
It is a fiasco. But having invested so much political capital, Ms Yingluck vows to continue. She has tried to tinker with the scheme, for instance, by cutting the cost of the subsidy from 15,000 baht per tonne to 13,500 baht. That only angered rice farmers, her chief constituency. She quickly backed down, but she intends to try again. Her administration is frantically trying to secure deals for other governments to buy the rice, but this is making only a small dent in stocks. Iran has bought 250,000 tonnes.

Meanwhile, daily revelations of incompetence and corruption surrounding the rice scheme take their toll on the government’s standing, and investors fret about the wider effect on the public finances. Government debt levels are rising, and Moody’s, a ratings agency, has warned of the risk that the rice scheme poses to the country’s fiscal discipline.

คลิกที่รูปเพื่อไปอ่านข้าวต้นฉบับ



----------------

ใหม่เมืองเอกสรุป

เป็นไงล่ะครับ สื่อทั่วโลกลงข่าวโครงการจำนำข้าวของไทยซ้ำแล้วซ้ำเล่า แต่รัฐบาลยิ่งลักษณ์ก็ยังพยายามฝืนดื้อดึงต่อไป เพราะไม่ใช่เงินขาดทุนของตระกูลพวกมัน แถมพวกมันกลับได้ผลประโยชน์จากโครงการจำนำข้าวทำลายชาติอีกด้วย

อ้างชาวนาบังหน้า เปรียบเสมือนเอาชาวนามาเป็นตัวประกันแท้ ๆ

โครงการนี้ทำมา 2 ปี มีข้าวค้างเหลือขายไม่ออก 18 ล้านตัน และดูว่ายังจะขายไม่ออกต่อไป เพราะต่างประเทศเขาไม่โง่ !!

แม้ไอ้ทักษิณจะโม้ว่า อิรักเขารวย อิรักยอมซื้อข้าวไทยแม้มีราคาแพงกว่าข้าวชาติอื่น แต่ไอ้ทักษิณมันก็พูดไม่หมดว่า อิรักเขาจะยอมซื้อข้าวที่ราคา 800 เหรียญต่อตันไหมล่ะ ซึ่งเป็นแค่ราคาเท่าทุนของไทยเท่านั้น

โธ่เอ๊ย ไอ้เห้เหลี่ยมจรจัด ถึงขายได้ก็ต้องขายขาดทุนอยู่ดีล่ะวะ

คุณผู้อ่านลองนึกดูนะครับ ตอนที่ยังไม่มีโครงการรับจำนำข้าว ราคาเป็นไปตามกลไกตลาดโลก ข้าวไทยยังขายได้แค่ 10 ล้านตันต่อปีเท่านั้น แล้วนี่มีข้าวค้างโกดังมากถึง 18 ล้านตัน แถมทั้งเก่า ทั้งรมสารเยอะ ทั้งแพง มันจะขายได้สักเท่าไหร่กัน ??

ที่แน่ ๆ ไม่ค่อยมีผู้ส่งออกไทยมาประมูลข้าวจากรัฐบาลเท่าไหร่ เพราะเขาหวั่นเรื่องคุณภาพนี่แหละครับ

ประเทศไทยมีกรรมหนัก เพราะมีพวกฟายแดงหนักแผ่นดินสนับสนุนคนชั่วให้มีอำนาจปกครองบ้านเมือง 

เฮ่อ..



คลิกอ่าน สิ่งที่เจ้าสัวซีพีสำรอก ล้วนเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

เพิ่งเปิดรับการแสดงความคิดเห็นครับ ทุกความเห็นคือกำลังใจ
แล้วอย่าลืมแวะไปที่บล้อคมุมมอง-ใหม่เมืองเอกนะครับ ขอบคุณ/ใหม่ เมืองเอก